หมวดหมู่งานผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์และพระราชานุเคราะห์
บันทึกข้อมูลผู้ป่วยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์ โดยมีหนังสือรับรอง/ใบโปรดเกล้าฯ และไม่ใช่ผู้ป่วยที่อยู่ในการดูแลของมูลนิธิ/โครงการ หรือหน่วยงานอื่นที่มีระบบการดำเนินงานหรือการสนับสนุน เช่น มูลินิ พอสว. เป็นต้น
1. กรณีที่ผู้ป่วยได้รับการ
รักษาจนหายจากโรคที่ระบุในหนังสือส่งตัว
2. กรณี
เสียชีวิต
3. กรณีอื่นๆ
ตามพระบรมราชวินิจฉัย
ดำเนินโดยให้ผู้ป่วยดำเนินการทูลเกล้าทูลก ระหม่อมถวายฎีกาแจ้งความประสงค์ และเหตุผลความจำเป็นด้วยตนเอง พร้อมแนบใบส่งตัวเดิม บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน และใบรับรองแพทย์ ส่งไปยังสำนักพระราชวังหรือหน่วยงานที่มีหนังสือถึงผู้ป่วย
1. ผู้ป่วยในพ
ระบรมราชานุเคราะห์
- ค่า
รักษาพยาบาลส่วนเกินสิทธิ
- ค่า
ใช้ในการเดินทางไปรับการรักษา
- ค่าส
นับสนุนการรักษาอื่น ๆ
2. ผู้ป่วยพระราชานุเคราะห์
- ค่
ารักษาพยาบาลส่วนเกินสิทธิ
- ค่าใ
ช้จ่ายอื่นๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการระบุรายละเอียดในหนังสือส่งตัวผู้ป่วย
1. เอกสารที่ใช้ประกอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล (ส่วนเกินสิทธิ) ของผู้ป่วย
- ใบเสร็จ/ใบรายการสรุปค่าใช้จ่าย (ฉบับจริง)
- สำเนาหนังสือรับรองการเป็นผู้ป่วย
- ใบรับรองแพทย์หรือใบนัด
2. เอกสารที่ใช้ประกอบการเบิกจ่ายค่าเดินทางของผู้ป่วย
2.1 เดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัว
- ใบเสร็จ/บิลเงินสดค่าน้ำมันรถหรือค่าแก๊ส (อย่างใดอย่างหนึ่ง) ฉบับจริง กรณีไม่มีใบเสร็จให้เบิกจ่ายตามจริง ยึดตามหลักเกณฑ์การเบิกของส่วนราชการ โดย สสจ. เป็นผู้พิจารณาและรับรอง
- ใบรับรองแพทย์หรือใบนัด
- สำเนาหนังสือรับรองการเป็นผู้ป่วย
2.2 เดินทางด้วยรถรับจ้าง
- ตั๋วรถโดยสารประจำทาง/รถไฟ (อย่างใดอย่างหนึ่งในจำนวนอัตราที่น้อยกว่า) กรณีไม่มีใบเสร็จให้เบิกจ่ายตามจริง ยึดตามหลักเกณฑ์การเบิกของส่วนราชการ โดย สสจ. เป็นผู้พิจารณาและรับรอง
- ใบรับรองแพทย์หรือใบนัด
- สำเนาหนังสือรับรองการเป็นผู้ป่วย
3. ค่าสนับสนุนการรักษาอื่น ๆ
- ใบเสร็จรับเงิน
- ใบรับรองแพทย์หรือใบนัด
- สำเนาหนังสือรับรองการเป็นผู้ป่วย
https://moph.cc/zbjBvytCe
หมวดหมู่งานจิตอาสา เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ
จิตอาสาตามพระร
าโชบาย แบ่งเป็น 3 ประเภท
1. จิตอาสาพัฒนา
2. จิตอาสาภัยพิบัติ
3. จิตอาสาเฉพาะกิจ
ไม่จำเป็นต้องสวมใส่ชุดเครื่องแบบจิตอ าสาทุกครั้ง ยกเว้นการกำหนดในวันที่เป็นพระราชพิธี (ข้อมูลจากการประชุมคณะกรรมการประสานงานจิตอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อความสุขของประชาชน วันที่ 27 ตุลาคม 2564)
ไม่จำเป็นต้องมีการจัดพิธีการก่อนเริ่มกิจกรรม ยกเว้นการกำหนดในวันที่เป็นพระราชพิธี (ข้อมูลจากการประชุมคณะกรรมการประสานงานจิตอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อความสุขของประชาชน วันที่ 27 ตุลาคม 2564)
ไม่เป็นกิจกรรมจิตอาสาเฉพาะกิจ จิตอาสาเฉพาะกิจได้แก่ กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานที่มีวัตถุประสงค์ให้ปฏิบัติในงานพระราชพิธี หรือการรับเสด็จ ในโอกาสต่างๆ เป็นการใช้กำลังพลจิตอาสา ร่วมปฏิบัติกับ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาร่วมงานรวมทั้งการเตรียมการ การเตรียมสถานที่และการฟื้นฟู สถานที่ภายหลัง การปฏิบัติในพระราชพิธี และการเสด็จฯ นั้นๆ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
หมวดหมู่คำถามอื่น ๆ
1. งานผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์
2. ง
านผู้ป่วยทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายฎีกา
3. งานขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ด้านโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์
4. งานจิตอาสาเราทำความ ดี ด้วย หัวใจ
This site was created with the Nicepage